ภาพจิตรกรรมฝาผนัง วัดเกาะวาลุการาม วาดโดย ป.สุวรรณสิงห์ แสดงเหตุการณ์เพลิงไหม้ ด้านขวามือจะเห็นขัวแตะข้ามจากวัดไปยังอีกฟากฝั่งแม่น้ำ ที่มา ภาณุพงษ์ เลาหสม. "จิตรกรรมฝาผนังล้านนา", กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2540, น.143

วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2551

ความเคลื่อนไหวทางศิลปวัฒนธรรม ทศวรรษ2550

ทศวรรษที่ 2550 :
2550

1)โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์สวนสาธารณะพ่อเจ้าทิพย์ช้าง โดย เทศบาลนครลำปาง [1]
2)โครงการศึกษาชั้นวัฒนธรรมทางโบราณคดี กรมศิลปากรและ ขุดค้นและขุดแต่งกำแพงเมืองเขลางค์นคร อ.เมือง จ.ลำปาง เทศบาลนครลำปาง 1 ก.พ.-31 พ.ค.
3)โครงการบูรณะกุฏิพระเจ้าแก้ว และศาลาบาตร กรมศิลปากร วัดพระธาตุลำปางหลวง มิ.ย.50-พ.ค.51
4)งานฉลองสะพานรัษฎาภิเศก ครบรอบ 90 ปี 24-25 มี.ค. เทศบาลนครลำปาง
5)โครงการก่อสร้างหอกลองปู่จา ณ วัดเจดีย์ซาวหลัง โดย บริษัทปตท. ฯ [2]
6) การขุดค้นทางโบราณคดี วัดปงสนุก โดย ชุมชนปงสนุก คณะวิจิตรศิลป์ มช. [3]
8)ตึกเสาจินดารัตน์ ถ.ทิพย์ช้าง และสะพานรัษฎาภิเศก ส.สถาปนิกสยาม ขึ้นทะเบียนอาคารควรค่าแก่การอนุรักษ์ประจำปี[4]
9) โครงการก่อสร้างถนนสาย ก. ผังเมืองรวมลำปาง จ.ลำปาง กรมทางหลวงชนบท 16 ก.ค.50-9 ก.ค.51 เชื่อม ถ.ท่ามะโอ กับ ถ.วชิราวุธดำเนิน
10)งานเขียน "ปงสนุก คนตัวเล็กกับการอนุรักษ์" ผลลัพธ์ของ เกรียงไกร เกิดศิริ จากการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายการอนุรักษ์มรดก ทางสถาปัตยกรรม กรณีศึกษา วัดปงสนุก จังหวัดลำปาง [5]
11) นิทรรศการ “คนตัวเล็ก กับการอนุรักษ์” จัดแสดงระหว่าง ชุมชนปงสนุกและ วันที่ 9-31 พฤษภาคม 2550 ณ หอศิลปะพระพรหมพิจิตร เครือข่าย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ถ.หน้าพระลาน กรุงเทพฯ
12) อาคารหม่องหง่วยสิ่น กาดกองต้า ได้รับรางวัลสถาปัตยกรรม กรรมาธิการสถาปนิกล้านนา ดีเด่น ประจำปี 2550 ประเภท "อาคารอนุรักษ์สถาปัตยกรรมล้านนา" เรือนแถว 5 คูหา ขนมปังขิง แถวตลาดจีน จากงาน "สถาปนิกล้านนา ต้นกล้า สถาปัตย์ล้านนา 50" วันที่ 15-18 พฤศจิกายน 2550

2551
1)โครงการบูรณะกำแพงเมืองลำปางบริเวณประตูม้า กรมศิลปากรและ 1 ก.พ.-27 ก.พ.51 โดย เทศบาลนครลำปาง
2)โครงการศิลปกรรมท้องถิ่นทางพุทธศาสนาในเขตอ.แม่ทะ โดย ศูนย์โบราณคดี จ.ลำปาง ภาคเหนือ คณะ สังคมศาสตร์ มช.และ วิทยาลัยอินเตอร์เทค[6]
3)ครบรอบ 80 ปีชาตกาล ศักดิ์ รัตนชัย 24 กุมภาพันธ์
4)นิทรรศการภาพลายเส้น - สีน้ำ ชุดนำชมสถาปัตยกรรมสำคัญเมืองลำปางผลงาน รศ.ธีรศักดิ์ วงศ์คำแน่น 5-30 เม.ย.51
5)มหัศจรรย์ 1,328 ปี ปี๋ใหม่เมืองนครลำปาง ช่วงเดือนเมษายน โดย จังหวัดลำปาง [7]
6)มีแนวคิดที่จะสร้างหอวัฒนธรรม ในสวนสาธารณะหนองกระทิง องค์การบริหารส่วน จังหวัดลำปาง
7)สถาปัตยกรรมในลำปางได้รับ “รางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น” กลุ่มอาคารบริเวณกาดกองต้า ประเภทชุมชน อาคารฟองหลี กาดกองต้า ประเภทอาคารพาณิชย์
วิหารวัดบ้านก่อ อ.วังเหนือ ประเภท ปูชนียสถานและวัดวาอาราม โดย สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์[8]
............................
เชิงอรรถ
[1] สัมภาษณ์ มนัสพี เตชะ สำนักการช่าง เทศบาลนครลำปาง, 13 พฤษภาคม 2551
[2] นายอินสม ปัญญาโสภา, รักษาการบรรณาธิการ. หนังสือพิมพ์ไทยนิวส์. “ปตท.มอบหอกลองปูจาเป็นศูนย์เรียนรู้ประเพณีชาวลำปาง” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.thainews70.com/news/news-social/view.php?topic=2745 (3 ธันวาคม 2550)
[3] สัมภาษณ์ เมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จ นักโบราณคดี ศูนย์โบราณคดีภาคเหนือ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 13 พฤษภาคม 2551
[4] โครงการจัดทำทะเบียน อาคารควรค่าแก่การอนุรักษ์, สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์. "อาคารที่ขึ้นทะเบียนแล้ว" [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.asa.or.th/conservation/thai-heritage-building/registered.php
[5] เกรียงไกร เกิดศิริ. ปงสนุก คนตัวเล็กกับการอนุรักษ์ (กรุงเทพฯ : อี.ที. พับลิชชิ่ง), 2550.
[6] สัมภาษณ์ เมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จ นักโบราณคดี ศูนย์โบราณคดีภาคเหนือ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 13 พฤษภาคม 2551
[7]จังหวัดลำปาง “มหัศจรรย์ 1,328 ปี ปี๋ใหม่เมือง นครลำปาง" ประจำปี 2551” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.lampang.go.th/publish51/skApril51/sk51.htm
[8] สัมภาษณ์ ลีนวัตร ธีระพงษ์รามกุล, คณะทำงาน บริษัท บานาน่า สตูดิโอ, 6 มิถุนายน 2551 และ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. "วิหารวัดบ้านก่อ ได้รับรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2551" [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.finearts.cmu.ac.th/thai/news/exhibition_detail2.php?v1=175

ไม่มีความคิดเห็น: