ทศวรรษที่ 2510
2510
แจ้งความให้ดำเนินคดีกับผู้ใช้กู่เจ้าย่าสุตตา ศักดิ์ รัตนชัย เป็นซ่องโสเภณี [1]
2512
1)บทความ “เมืองนคร-เมืองลำปาง” โดย ศักดิ์ รัตนชัย [2]
2)ประดิษฐานพระนิโรครันตรายชัยวัฒน์จตุรทิศ จังหวัดลำปาง (หลวงพ่อดำ) ณ มณฑปหน้าศาลากลางจังหวัดลำปาง [3]
2513
เริ่มขบวนรถแห่ลอยกระทงอย่างชัดเจน โดย เทศบาลเมืองลำปาง [4]
2515
หลวงพ่อเกษม มอบหมายให้ ประเวทย์ ณ ลำปาง ประเวทย์ ณ ลำปาง สร้างศาลาเจ้าแม่สุชาดา ณ บ้านวังย่าเฒ่า 13 เมษายน เพื่อลบล้างมลทินและแก้อาถรรพ์ให้ชาวเขลางค์เพื่อความเป็น ศิริมงคลสืบไป[5]
2516
บทความ “ประวัตินครลำปาง” โดย ศักดิ์ รัตนชัย[6]
2517
เปิดอนุสาวรีย์เจ้าแม่สุชาดา ณ บ้านวังย่าเฒ่า 13 เมษายน[7]
2518
อนุสาร อ.ส.ท. ฉบับลำปาง[8]
2519
The Lampang field station : Soren Egerod a Scandinavian Research Center in Thailand[9]
ทศวรรษที่ 2520 :
2520
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า วลัย ลีลานุช โสมสวลี เสด็จบ้านเสานัก 19 มกราคม[10]
2521
1)นิทรรศการวัฒนธรรมพื้นบ้านวิทยาลัยครูลำปาง วิทยาลัยครูลำปาง [เรื่องของเก่าเมืองละกอน] 3-5 ธันวาคม 2521 โดย วิทยาลัยครูลำปาง[11]
2)การฟ้องร้องต่อสู้คดีประวัติศาสตร์วัดกู่คำ ศักดิ์ รัตนชัย ตั้งแต่พ.ศ.2521-2529[12]
3)เปิดอนุสาวรีย์เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต โดย โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย[13]
4)ไฟไหม้ตลาดราชวงศ์ และตึกแถวสมัยทศวรรษ 2460[14]
2522
1) วารเมืองโบราณ ฉบับลำปาง หน้าปกเป็นภาพกู่เจ้าย่าสุตตา [15]
2)บทความ “แนะนำนครลำปาง” ศักดิ์ รัตนชัย ลง ที่ระลึกกีฬาเขตฯ ครั้งที่ 13 จังหวัดลำปาง [16]
2523
ประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานลำปาง ครั้งที่3 โดย กรมศิลปากร [17]
2524
ประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานลำปาง ครั้งที่4 โดย กรมศิลปากร [18]
2525
1)งานเขียน วิหารโถง ซุ้มโขง สกุลช่างลำปาง โดย สถาบันวิจัยสังคม มช. [19]
2) The House in East and Southeast Asia : anthropological and K.G. Izikowitz architectural aspects[20]
2526
1)ก่อตั้งศูนย์ศิลปวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง โดย วิทยาลัยครูลำปาง และสำนักงานวัฒนธรรมแห่งชาติ [21]
2)ก่อตั้งคณะวิจิตรศิลป์ ม.เชียงใหม่ หนึ่งในร่วมก่อตั้งคือ วิถี พานิชพันธ์[22] และให้กำเนิดภาควิชาศิลปะไทย ที่จะเป็นหนึ่งในแหล่งฐานข้อมูลศิลปวัฒนธรรมสำคัญทั่วภาคเหนือ โดยเฉพาะการลงภาคสนามแทบทุกอำเภอในลำปาง
2527
1)งานหลวงเวียงละกอน ครั้งที่1 ณ วัดพระธาตุลำปางหลวง จังหวัดลำปางและอื่นๆ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จทรงเป็นประธานในพิธี[23]
2)บทความ “โองการสาปแช่ง การทำลายกำแพงเมืองและ สุจิตต์ วงษ์เทศ คูเมืองโบราณ” ใน ศิลปวัฒนธรรม[24]
3)เปิดอนุสาวรีย์พระยาสุลวลือไชยสงคราม (เจ้าพ่อทิพย์ช้าง)[25] โดย จังหวัดลำปาง[26]
2528
หนังสือ "ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดลำปาง" โดย จังหวัดลำปาง [27]
2529
1)งานศพย่าแดง พานิชพันธุ์ โดย วิถี พานิชพันธุ์ [28]
2)วิทยานิพนธ์ "การศึกษาเมืองโบราณเวียงพระธาตุลำปางหลวง" โดย ภาสกร โทณะวณิก [29]
3)ก่อตั้งหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมท้องถิ่นลำปาง โดย จังหวัดลำปางและ ศูนย์วัฒนธรรมจ.ลำปาง [30]
...............................
เชิงอรรถ
[1] ธีรศักดิ์ วงศ์คำแน่น. เชิดชูเกียรติ ศักดิ์ รัตนชัย ผู้มีผลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์ ภาคเหนือ พ.ศ.2530, 2530, น.5
[2] ศักดิ์ รัตนชัย. “เมืองนคร-นครลำปาง” ใน ของดีนครลำปาง, 2512, น.2
[3] มหาดไทย, กระทรวง. ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดลำปาง, 2528.
[4] ไพโรจน์ ไชยเมืองชื่น. “ ‘ล่องสะเพา ชาวเวียงละกอน’ : วาทกรรมของการท่องเที่ยว” ใน ลำปางเมื่อห้วงหนึ่งศตวรรษ , 2544, น.172
[5] ข้อความบริเวณหน้าบัน ศาลาที่สร้างครอบอนุสาวรีย์เจ้าแม่สุชาดา
[6] ศักดิ์ รัตนชัย. “ประวัตินครลำปาง” ใน อนุสรณ์การแข่งขันกีฬาเขต 5 ครั้งที่ 7 ณ จังหวัดลำปาง วันที่ 24 มิถุนายน 2516..
[7] จารึกที่ฐานอนุสาวรีย์เจ้าแม่สุชดา
[8] อนุสาร อ.ส.ท. , 8 ( 2518)
[9] Egerod, Soren, ed. The Lampang field station : a Scandinavian Research Center in Thailand, 1969-1974(Copenhagen : Institute of Asian Studies), 1976.
[10] อนุสรณ์ คุณหญิงวลัย ลีลานุช (ลำปาง : จิตวัฒนาการพิมพ์), 2536, น.4
[11] นิทรรศการวัฒนธรรมพื้นบ้านวิทยาลัยครูลำปาง [เรื่องของเก่าเมืองละกอน] 3-5 ธันวาคม 2521 (กรุงเทพฯ : กองวัฒนธรรม กรมการศาสนา), 2521.
[12] ธีรศักดิ์ วงศ์คำแน่น. เชิดชูเกียรติ ศักดิ์ รัตนชัย ผู้มีผลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์ ภาคเหนือ พ.ศ.2530, 2530, น.6
[13] “อนุสาวรีย์พ่อเจ้าบุญวาทย์” ใน 100 ปี บุญวาทย์วิทยาลัย คือความภูมิใจ คือเกียรติยศ (ลำปาง : จิตวัฒนาการพิมพ์), 2541?
[14] สัมภาษณ์ วราภรณ์ มณีเทศ ผู้อาศัยบริเวณถนนทิพย์ช้าง และชาวตลาดราชวงศ์, 13 พฤษภาคม 2551 ระบุว่าช่วงปลายเดือนมีนาคม 2521
[15] เมืองโบราณ, 4 (2521)
[16] ศักดิ์ รัตนชัย. “แนะนำนครลำปาง” ใน ที่ระลึกกีฬาเขตฯ ครั้งที่ 13 จังหวัดลำปาง วันที่ 23-29 ธันวาคม 2522.
[17] กรมศิลปากร. การขึ้นทะเบียนโบราณสถานภาคเหนือ..., 2525.
[18] กรมศิลปากร. การขึ้นทะเบียนโบราณสถานภาคเหนือ..., 2525.
[19] มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, สถาบันวิจัยสังคม. วิหารโถง ซุ้มโขง สกุลช่างลำปาง (เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัย), 2525.
[20] K.G. Izikowitz, P. Serensen,editors. The House in East and Southeast Asia : anthropological and architectural aspects (London : Curzon Press), 1982.
[21] สัมภาษณ์ ประสงค์ แสงแก้ว, อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 6 พฤษภาคม 2551
[22] กลุ่มหน่อศิลป์. วิถีจากวิถี มรรคาแห่งวัฒนธรรม (ภูเก็ต : ภูเก็ตเซ็นเตอร์พริ้นท์), 2549, น.39 และสัมภาษณ์ วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, อดีตนักศึกษา ภาควิชาศิลปะไทย รุ่นที่ 2 พ.ศ.2527, วันที่ 26 พฤษภาคม 2551
[23] ไพโรจน์ ไชยเมืองชื่น. “ ‘ล่องสะเพา ชาวเวียงละกอน’ : วาทกรรมของการท่องเที่ยว” ใน ลำปางเมื่อห้วงหนึ่งศตวรรษ, 2544, น.160
[24] สุจิตต์ วงษ์เทศ. “โองการสาปแช่งการทำลายกำแพงเมืองและคูเมืองโบราณ” ใน ศิลปวัฒนธรรม, 11( 2527)
[25] มาลินี คุ้มสุภา. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยกับความหมายที่มองไม่เห็น (กรุงเทพฯ : วิภาษา), 2548, ภาคผนวก น.313
[26] สัมภาษณ์ ประสงค์ แสงแก้ว, อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 6 พฤษภาคม 2551
[27] มหาดไทย, กระทรวง. ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดลำปาง, 2528.
[28] หนังสืออนุสรณ์คุณย่าแดง พานิชพันธ์ (เชียงใหม่ : ดารารัตน์การพิมพ์), 2531.
[29] ภาสกร โทณะวณิก. การศึกษาเมืองโบราณเวียงพระธาตุลำปาง วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2529.
[30] สัมภาษณ์ ประสงค์ แสงแก้ว, อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 6 พฤษภาคม 2551
วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2551
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น